บีทียู-BTU คืออะไร? : พร้อม 2 วิธีคำนวนค่าบีทียูแอร์
บีทียู-BTU คืออะไร?
BTU (British Thermal Unit) คือ หน่วยวัดความร้อนที่นิยมใช้ในระบบเครื่องปรับอากาศ โดย BTU คือหน่วยที่แสดงถึงปริมาณความร้อนที่เครื่องปรับอากาศสามารถถ่ายเทออกจากห้องได้ในหนึ่งชั่วโมง เช่น แอร์ขนาด 18,000 BTU หมายความว่าเครื่องสามารถถ่ายเทความร้อน 18,000 BTU ต่อชั่วโมง
1.1.2 ตรวจสอบงานฐานราก ตอม่อ (โครงสร้างใต้ดิน)
มาตรฐาน และข้อกำหนดวัสดุ คอนกรีตฐานราก
ใช้คอนกรีตผสมเสร็จที่มีกำลังอัดประลัยตามที่ผู้ออกแบบกำหนด หรืออย่างน้อย 210 ksc. (สำหรับทรงกระบอก) เพื่อความแข็งแรง และปลอดภัย ระยะหุ้มที่ปลอดภัย
ระยะหุ้ม ไม่ต่ำกว่า 5 cm. หรือตามที่ผู้ออกแบบกำหนด เนื่องจากงานโครงสร้างใต้ดิน จะสัมผัสกับความชื้นในดินได้ตลอด
5 วิธีรับมือ (ผู้รับเหมาเบิกเงินเกิน)
5 วิธีรับมือการเบิกเงินล่วงหน้าของผู้รับเหมา(ผู้รับเหมาเบิกเงินเกิน) 1.สอบเหตุ ที่ต้องเบิกล่วงหน้า 2.เจ้าของบ้านเสนอทางเลือกการจัดหาวัสดุให้ผู้รับเหมาเอง 3.แบ่งงวดย่อยลงประเมินผลงานให้เล็กลงว่าพอจ่ายก่อนได้หรือไม่ตามผลงานที่ทำมาแล้ว 4. หากตัดสินใจจ่ายให้จริงๆ เจ้าของทำหนังสือบันทึกเพิ่มระบุข้อตกลงในสัญญาให้ชัดเจน 5.ควรตรวจสอบประวัติผู้รับเหมาอีกครั้ง หรือหากโครงการมีมูลค่าสูงควรจ้างทนายหรือนักสืบตรวจสอบประวัติ
3 สิ่งที่ต้องมีการ ประกันผลงานก่อสร้าง
ประกันผลงานก่อสร้าง หรือที่เรียกว่า การรับประกันผลงาน เป็นการให้คำมั่นจากผู้รับเหมาในการรับประกันคุณภาพของงานก่อสร้างหลังจากที่โครงการเสร็จสิ้นแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากความผิดพลาดในการก่อสร้าง หรือวัสดุที่ใช้ ซึ่งการรับประกันผลงานมักครอบคลุมช่วงเวลาหนึ่งๆ ตามที่ระบุในสัญญา เช่น 1 ปี หรือมากกว่านั้น ขึ้นอยู่กับข้อตกลงระหว่างเจ้าของโครงการ และผู้รับเหมา
บทบาทของวิศวกร สถาปนิก : 2 วิชาชีพสำคัญในการควบคุมงานก่อสร้าง
บทความนี้จะพูดถึง บทบาทของวิศวกร สถาปนิก ในงานก่อสร้าง ซึ่งการก่อสร้างเป็นงานที่มีวิชาชีพต่างๆ ดังนั้นที่เกี่ยวข้องหลากหลายแขนงมาร่วมกันทำงาน เพื่อให้งานก่อสร้างสำเร็จลุล่วงไปได้ ในแง่ของการตรวจสอบ และบริหารงานก่อสร้าง โดยเฉพาะงานก่อสร้างบ้าน หรืออาคารนั้น หากจะกล่าวถึงวิชาชีพสำคัญ คงจะหนีไม่พ้นสถาปนิก และวิศวกร โดยทั้งวิศวกรโยธา, วิศวกรระบบ และสถาปนิก ล้วนมีความสำคัญในงานก่อสร้างด้วยกันทั้งนั้น
10 สิ่งที่ต้องมีในสัญญาก่อสร้าง
สิ่งที่ต้องมีในสัญญาก่อสร้าง ควรจะต้องระบุสิ่งเหล่านี้ไว้ในการทำสัญญาก่อสร้าง เป็นเรื่องสำคัญที่ช่วยปกป้องทั้งเจ้าของโครงการ และผู้รับเหมา เพื่อให้การก่อสร้างดำเนินไปอย่างราบรื่น การมีสัญญาที่ชัดเจน และครอบคลุมจะช่วยลดโอกาสเกิดปัญหา หรือความขัดแย้งในภายหลัง การทำสัญญาที่ละเอียด และไม่กำกวมจะช่วยป้องกันการโกง และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น วันนี้วิศวะจะมาชี้ให้เห็นถึง 10 รายละเอียดสำคัญที่ควรระบุในสัญญาก่อสร้าง เพื่อเพิ่มความมั่นใจกับทุกฝ่าย และช่วยป้องกันปัญหาต่าง ๆ
5 สิ่งที่ต้องเตรียมประกอบ สัญญาก่อสร้าง
การทำสัญญาก่อสร้างกับผู้รับเหมาเป็นขั้นตอนสำคัญ การเตรียมเอกสารที่ถูกต้อง และครบถ้วนมีส่วนสำคัญในการป้องกันความขัดแย้งและการเข้าใจผิด ในบทความนี้วิศวะจะพาไปทำความรู้จักกับเอกสารสำคัญที่ควรเตรียมในการทำสัญญา กับผู้รับเหมา เพื่อให้การก่อสร้างบ้านเป็นไปตามแผน และเสร็จสมบูรณ์ตามความคาดหวัง
6 ข้อแนะนำก่อนว่าจ้างผู้รับเหมางานก่อสร้างเพื่อป้องกันปัญหา และลดความเสี่ยง
6 ข้อแนะนำเพื่อป้องกันปัญหา และลดความเสี่ยง ก่อนว่าจ้างผู้รับเหมางานก่อสร้าง เพราะงานก่อสร้างเป็นงานที่ต้องใช้ทั้งเวลา และงบประมาณอย่างมาก เมื่อเริ่มต้นโครงการก่อสร้างบ้านหรืออาคาร การเลือกว่าจ้างผู้รับเหมาที่น่าเชื่อถือถือเป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญที่สุด
3 ความสำคัญของค่าปรับในงานก่อสร้าง: ลดความเสี่ยง เพิ่มประสิทธิภาพ
การมี “ค่าปรับ” อยู่ในสัญญาเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วย ลดความเสี่ยง ที่อาจเกิดจากผู้รับเหมาที่ไม่ทำตามสัญญา
ค่าปรับในงานก่อสร้าง ทำหน้าที่เป็นกลไกกระตุ้นให้ผู้รับเหมา ดำเนินการตามระยะเวลาที่ตกลงไว้ หากไม่เป็นไปตามกำหนด ผู้รับเหมาจะต้อง ชดเชยค่าเสียหาย ให้แก่เจ้าของบ้าน ซึ่งช่วยลดภาระทั้งด้านการเงินและเวลา
กรณีทั้ง 4 แบบ ที่ต้องมีการเซ็นควบคุมงาน ตอนขออนุญาตก่อสร้าง
การขออนุญาตก่อสร้าง เป็นขั้นตอนสำคัญที่เจ้าของบ้านทุกคนต้องดำเนินการ หลังจากที่เตรียมเอกสารครบถ้วนแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการหา ผู้ควบคุมงาน เพื่อ เซ็นรับรองการก่อสร้าง ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายกรณีการเซ็นรับรองใน 4 กรณีหลัก เพื่อช่วยให้คุณเข้าใจว่าใครเหมาะที่จะเซ็นควบคุมงานในโครงการของคุณ