1.1.2 ตรวจสอบงานฐานราก ตอม่อ (โครงสร้างใต้ดิน)
มาตรฐาน และข้อกำหนดวัสดุ คอนกรีตฐานราก
ใช้คอนกรีตผสมเสร็จที่มีกำลังอัดประลัยตามที่ผู้ออกแบบกำหนด หรืออย่างน้อย 210 ksc. (สำหรับทรงกระบอก) เพื่อความแข็งแรง และปลอดภัย ระยะหุ้มที่ปลอดภัย
ระยะหุ้ม ไม่ต่ำกว่า 5 cm. หรือตามที่ผู้ออกแบบกำหนด เนื่องจากงานโครงสร้างใต้ดิน จะสัมผัสกับความชื้นในดินได้ตลอด
5 วิธีรับมือ (ผู้รับเหมาเบิกเงินเกิน)
5 วิธีรับมือการเบิกเงินล่วงหน้าของผู้รับเหมา(ผู้รับเหมาเบิกเงินเกิน) 1.สอบเหตุ ที่ต้องเบิกล่วงหน้า 2.เจ้าของบ้านเสนอทางเลือกการจัดหาวัสดุให้ผู้รับเหมาเอง 3.แบ่งงวดย่อยลงประเมินผลงานให้เล็กลงว่าพอจ่ายก่อนได้หรือไม่ตามผลงานที่ทำมาแล้ว 4. หากตัดสินใจจ่ายให้จริงๆ เจ้าของทำหนังสือบันทึกเพิ่มระบุข้อตกลงในสัญญาให้ชัดเจน 5.ควรตรวจสอบประวัติผู้รับเหมาอีกครั้ง หรือหากโครงการมีมูลค่าสูงควรจ้างทนายหรือนักสืบตรวจสอบประวัติ
บทบาทของวิศวกร สถาปนิก : 2 วิชาชีพสำคัญในการควบคุมงานก่อสร้าง
บทความนี้จะพูดถึง บทบาทของวิศวกร สถาปนิก ในงานก่อสร้าง ซึ่งการก่อสร้างเป็นงานที่มีวิชาชีพต่างๆ ดังนั้นที่เกี่ยวข้องหลากหลายแขนงมาร่วมกันทำงาน เพื่อให้งานก่อสร้างสำเร็จลุล่วงไปได้ ในแง่ของการตรวจสอบ และบริหารงานก่อสร้าง โดยเฉพาะงานก่อสร้างบ้าน หรืออาคารนั้น หากจะกล่าวถึงวิชาชีพสำคัญ คงจะหนีไม่พ้นสถาปนิก และวิศวกร โดยทั้งวิศวกรโยธา, วิศวกรระบบ และสถาปนิก ล้วนมีความสำคัญในงานก่อสร้างด้วยกันทั้งนั้น
10 สิ่งที่ต้องมีในสัญญาก่อสร้าง
สิ่งที่ต้องมีในสัญญาก่อสร้าง ควรจะต้องระบุสิ่งเหล่านี้ไว้ในการทำสัญญาก่อสร้าง เป็นเรื่องสำคัญที่ช่วยปกป้องทั้งเจ้าของโครงการ และผู้รับเหมา เพื่อให้การก่อสร้างดำเนินไปอย่างราบรื่น การมีสัญญาที่ชัดเจน และครอบคลุมจะช่วยลดโอกาสเกิดปัญหา หรือความขัดแย้งในภายหลัง การทำสัญญาที่ละเอียด และไม่กำกวมจะช่วยป้องกันการโกง และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น วันนี้วิศวะจะมาชี้ให้เห็นถึง 10 รายละเอียดสำคัญที่ควรระบุในสัญญาก่อสร้าง เพื่อเพิ่มความมั่นใจกับทุกฝ่าย และช่วยป้องกันปัญหาต่าง ๆ
กรณีทั้ง 4 แบบ ที่ต้องมีการเซ็นควบคุมงาน ตอนขออนุญาตก่อสร้าง
การขออนุญาตก่อสร้าง เป็นขั้นตอนสำคัญที่เจ้าของบ้านทุกคนต้องดำเนินการ หลังจากที่เตรียมเอกสารครบถ้วนแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการหา ผู้ควบคุมงาน เพื่อ เซ็นรับรองการก่อสร้าง ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายกรณีการเซ็นรับรองใน 4 กรณีหลัก เพื่อช่วยให้คุณเข้าใจว่าใครเหมาะที่จะเซ็นควบคุมงานในโครงการของคุณ
1.1.1 ตรวจสอบงานวางผังปักหมุดโครงการ
งานวางผังปักหมุด คือ
1. ต้องตรวจสอบตำแหน่งหมุดที่ดินให้ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดในการกำหนดพื้นที่ก่อสร้าง
2. วางตำแหน่งเสาเข็มตามแบบฐานราก
ตำแหน่งเสาเข็มต้องวางให้ถูกต้องตามแบบ และต้องมีการตรวจสอบฉาก และแนวเพื่อความแม่นยำ